ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลบางสวน และแม่น้ำบางปะกง
๑.๓ ลักษณะทางกายภาพ / สภาพภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบมีลำน้ำแยกตัวมาจากแม่น้ำบางปะกง และมีลำคลองหลายสาขาไหลผ่าน พื้นที่ส่วนใหญ่เหมาะแก่การเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำสวน และเลี้ยงสัตว์
ลักษณะทางอุตุนิยมวิทยา
สภาพอากาศโดยทั่วไป แบ่งเป็น ๓ ฤดู คือ
ฤดูร้อน ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – เดือนพฤษภาคม
ฤดูฝน ระหว่างเดือนมิถุนายน – เดือนตุลาคม
ฤดูหนาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายน – เดือนมกราคม๑.๔ ลักษณะการแบ่งเขตการปกครองของตำบล แบ่งออกเป็นหมู่บ้านดังนี้
หมู่ที่
|
ชื่อหมู่บ้าน
|
ชื่อผู้นำท้องถิ่น
|
ตำแหน่ง
|
เบอร์โทรศัพท์
|
๑
|
บ้านป่าไผ่
|
นายสุรินทร์ ศรีพิพัฒน์
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
๐๘๑-๖๘๖๘๐๒๐
|
๒
|
บ้านคลองโสภา
|
นายวสันต์ ทิพอัมพร
|
กำนัน
|
๐๘๑-๘๖๕๒๗๓๒
|
๓
|
บ้านคลองสองพี่น้อง
|
นายประยุทธ กุลศิริรัตน์
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
๐๘๑-๙๔๕๑๕๖๔
|
๔
|
บ้านทรายหาย
|
นายพนา ทองกล่ำ
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
๐๘๑-๓๙๙๓๐๐๓
|
๕
|
บ้านท่าระหัด
|
นายพงษ์เทพ อดิษะ
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
๐๘๘-๒๐๗๔๕๙๔
|
๖
|
บ้านหนองปรือ
|
นายสัมพันธ์ สัมฤทธิ์
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
๐๘๗-๔๘๓๓๑๖๕
|
๑.๕ ทรัพยากรธรรมชาติ
๑.๕.๑ แหล่งน้ำ
แม่น้ำ ๑ สาย
คลอง ๑๔ สาย
สระน้ำ ๔ แห่ง
บ่อบาดาล ๓ แห่ง
๑.๖ โครงสร้างพื้นฐาน ตำบลท่าทองหลางมีระบบประปาและไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน
๑.๗ การคมนาคมติดต่อสื่อสาร
การคมนาคม ส่วนใหญ่ใช้ทางคมนาคมทางบก ประกอบด้วย
๑.๗.๑ ถนนลูกรัง จำนวน ๗ สาย
๑.๗.๒ ถนนหินคลุก จำนวน ๘ สาย
๑.๗.๓ ถนนลาดยางแบบซิลเกิ้ล จำนวน ๓ สาย
๑.๗.๔ ถนนลาดยางแอสฟัลท์ติก คอนกรีต จำนวน ๓๒ สาย
๑.๗.๕ ถนนคอนกรีต จำนวน ๓ สาย
ได้ลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่นแล้ว จำนวน ๑ สาย คือ ถนนคอนกรีตสายน้ำเงินทอง ขนาดผิวจราจรกว้าง ๔.๐๐ เมตร ยาว ๓,๐๐๐ เมตร
การสื่อสาร
ในพื้นที่ส่วนใหญ่มีโทรศัพท์ใช้ประจำบ้านเรือน และมีโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทำให้การติดต่อสื่อสารสะดวก ส่วนการให้บริการโทรศัพท์สาธารณะ มีการติดตั้งกระจัดกระจายตามแหล่งชุมชนการให้บริการอินเตอร์เน็ตตำบล มีผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้อยู่ระหว่างการศึกษา มีหอกระจายข่าวประจำหมู่บ้านเพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ และหอกระจายข่าวประจำที่ทำการองค์การบริหาร
๑.๘ หน่วยงานในชุมชน
๑.๘.๑ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าทองหลาง
๑.๘.๒ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าทองหลาง
๑.๘.๓ กศน.ตำบลท่าทองหลาง
๑.๙ หน่วยธุรกิจ
๑.๙.๑ โรงงานอุตสาหกรรม มีจำนวน ๑ แห่ง ได้แก่ บริษัทไทยยูไนเต็ดเฟรม
๑.๙.๒ โรงสีและลานตากข้าว ไม่มี
๑.๙.๓ สถานีน้ำมัน ไม่มี
๒. สภาพทางสังคม - ประชากร
๒.๑ จำนวนครัวเรือน , จำนวนประชากร
หมู่ที่
|
ชื่อหมู่บ้าน
|
จำนวนประชากร
|
จำนวนครัวเรือน
|
ชาย (คน)
|
หญิง (คน)
|
รวม (คน)
|
๑
|
บ้านป่าไผ่
|
๖๒๗
|
๖๙๙
|
๑,๓๒๖
|
๖๓๙
|
๒
|
บ้านคลองโสภา
|
๕๓๘
|
๕๖๓
|
๑,๑๐๑
|
๒๘๗
|
๓
|
บ้านคลองสองพี่น้อง
|
๙๐
|
๑๑๓
|
๒๐๓
|
๔๑
|
๔
|
บ้านทรายหาย
|
๓๒๑
|
๓๒๘
|
๖๔๙
|
๒๖๘
|
หมู่ที่
|
ชื่อหมู่บ้าน
|
จำนวนประชากร
|
จำนวนครัวเรือน
|
ชาย (คน)
|
หญิง (คน)
|
รวม (คน)
|
๕
|
บ้านท่าระหัด
|
๕๔๕
|
๕๕๖
|
๑,๑๐๑
|
๒๘๔
|
๖
|
บ้านหนองปรือ
|
๑๕๑
|
๑๔๖
|
๒๙๗
|
๗๐
|
รวม
|
๒,๒๗๒
|
๒,๔๐๕
|
๔,๖๗๗
|
๑,๕๘๙
|
* ข้อมูล อ้างอิงจากตามสถิติทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๓
๒.๒ กลุ่มอายุ
ช่วงอายุ
|
ชาย (คน)
|
หญิง (คน)
|
รวม (คน)
|
ต่ำกว่า ๑๕ ปี
|
๕๗๓
|
๗๑๕
|
๑,๒๘๘
|
๑๕-๓๙ ปี
|
๗๗๓
|
๖๑๗
|
๑,๓๙๐
|
๔๐-๕๙ ปี
|
๗๐๕
|
๖๕๐
|
๑,๓๕๕
|
๖๐ ปีขึ้นไป
|
๒๒๑
|
๔๒๓
|
๖๔๔
|
๒.๓ ศาสนา
ศาสนา
|
จำนวน (คน)
|
คิดเป็นร้อยละ
|
ศาสนสถาน (แห่ง)
|
พุทธ
|
๔,๖๗๗
|
๑๐๐
|
วัดสามแยกหนองปลาตะเพียน
|
๒.๔ ชาติพันธุ์
ชาติพันธุ์
|
จำนวน (คน)
|
คิดเป็นร้อยละ
|
-
|
-
|
-
|
๒.๕ ระดับการศึกษา
ระดับการศึกษา
|
จำนวน (คน)
|
ต้องการเรียน
|
ไม่ต้องการเรียน
|
หมายเหตุ
|
ผู้ไม่รู้หนังสือ
|
-
|
-
|
-
|
|
ก่อนประถม (อ่านออกเขียนได้)
|
๖๔๔
|
|
√
|
|
ประถมศึกษา
|
๙๐๒
|
|
√
|
|
มัธยมศึกษาตอนต้น
|
๙๘๘
|
|
√
|
|
มัธยมศึกษาตอนปลาย
|
๑,๐๗๖
|
|
√
|
|
สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย
|
๑,๐๖๗
|
|
√
|
|
๒.๖ สถานศึกษา
๒.๖.๑ โรงเรียนระดับประถม มีจำนวน ๒ แห่ง ได้แก่ โรงเรียนสุตะโชติประชาสรรค์และโรงเรียนท่าระหัดราษฎร์สฤษดิ์
๒.๖.๒ โรงเรียนระดับมัธยม ( ไม่มี)
๒.๖.๓ โรงเรียนระดับอาชีวศึกษา ( ไม่มี)
๒.๖.๔ มหาวิทยาลัย ( ไม่มี)
๒.๖.๕ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน มีจำนวน ๑ แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบล
๒.๖.๖ ศูนย์การเรียนชุมชนเรียน (ไม่มี)
๓. สภาพทางเศรษฐกิจ
๓.๑ โครงสร้างฐานอาชีพของชุมชน
๓.๑.๑ อาชีพหลัก ได้แก่ เกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำสวน เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงปลา เป็นรูปแบบของเกษตรแบบผสมผสาน ประชาชนบางส่วนประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป และรับจ้างตามโรงงานอุตสาหกรรม
๓.๑.๒ อาชีพเสริม ได้แก่ รับจ้างทั่วไป