ภูมิปัญญา ดอกไม้จันทน์
นางปราณี แสงจันทร์
..............................
ชื่อ - สกุล ......นางปราณี แสงจันทร์ .อายุ..........๖๙............ปี
ที่อยู่ ..หมู่ ๑๔... ต.ศาลาแดง อ.บางน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา
ชีวประวัติ
นางปราณี แสงจันทร์ เกิดวันที่ ๑ มกราคม ๒๔๙๑ จังหวัด สิงห์บุรี มีพี่น้องร่วมกัน ๗ คน ปี พ.ศ.๒๕๑๖ ได้แต่งงานมีครอบครัว ณ ตำบลศาลาแดง อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา มีใจรักงานด้านศิลปะ เย็บปักถักร้อย จึงเข้ากลุ่มสตรีพัฒนาชุมชนอำเภอบางน้ำเปรี้ยว ได้เรียนทำดอกไม้จันทน์ขึ้น และมาดัดแปลงเป็นความคิดริเริ่มของตนเอง เป็นดอกไม้จันทน์ที่ไม่มีใครผลิตเช่นนี้มาก่อนเลย ด้วยการทำดอกไม้จันทน์ ซึ่งเดิมจะมีสีขาว เพื่อเป็นการแสดงความอาลัยกับผู้วายชน แต่นางปราณี แสงจันทน์ ได้ผลิตดอกไม้จันทน์ที่มีสีสันสวยงามแปลกตา สวยงามยิ่งนัก แต่ไม่น่าเกลียด ทำให้งานเศร้าสลดแต่กลับมีชีวิตชีวาจากดอกไม้จันทน์ การแวกแนวของความคิดของนางปราณี แสงจันทร์ ที่กล้าแสดงออกจนกลายเป็นดอกไม้จันทน์ที่สวยงาม จนมีชื่อเสียงไปทั่ว และเป็นที่สนใจของคน/และหน่วยงานทั่วไป จึงได้ตั้งเป็นกลุ่มอาชีพ ได้รับเชิญไปเป็นวิทยากรตามสถานที่ต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน นอกจากนั้นนางปราณี แสงจันทร์ ยังคิดริเริ่มทำดอกไม้หลากหลายประเภท ตามวาระการใช้งาน เช่น ในงานมงคลต่าง ๆ จนมีชื่อเสียงทั่วประเทศเป็นที่สนใจของกลุ่มอาชีพต่างๆ รวมทั้งกลุ่มอาชีพสตรีต่างจังหวัด ทั่วประเทศไทยได้สนใจมาศึกษาดูงาน ณ บ้านของนางปราณี แสงจันทร์ ผลิตภัณฑ์ของนางปราณี แสงจันทร์ ได้รับรางวัลต่าง ๆ มากมาย
การศึกษา
- จบการศึกษาชั้นประถมปีที่ ๔ โรงเรียนวัดกลางท่าข้าม ต.โพสังโฆ อ.ค่ายบางระจัน จ.สิงห์บุรี
ประสบการณ์ทำงาน
- เปิดธุรกิจตัดเย็บเสื้อผ้า
- ทำกลุ่มสตรีประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์
ผลงานดีเด่น
- เป็นผลิตภัณฑ์ดีเด่น
- สร้างกลุ่มอาชีพประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ให้กลุ่มสตรีที่ว่างงานให้มีรายได้
- เป็นวิทยากรมืออาชีพ
- เป็นครูศิลปะประดิษฐ์ดีเด่น
- ได้รับปริญญาภูมิปัญญาดีเด่น สาขากลุ่มอาชีพ จากราชภัฎราชนครินทร์ฉะเชิงเทรา
-๒-
รางวัลเกียรติคุณที่ได้รับ
- รางวัลเกียรติบัตร ผลิตภัณฑ์ระดับ ๕ ดาว จังหวัดฉะเชิงเทรา
- เป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ระดับ ๕ ดาว จังหวัดฉะเชิงเทรา
- รางวัลผู้ทำคุณประโยชน์งานด้านวัฒนธรรมในกลุ่มอาชีพ
การถ่ายทอดองค์ความรู้ของปราช์ญชาวบ้าน
ก. วิธีการถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างไร
๑.เป็นวิทยากรสถาบัน ,หน่วยงานต่าง ๆ
๒.จัดตั้งกลุ่มอาชีพเพื่อถ่ายทอด
๓.เป็นกรรมการพิเศษของหน่วยงานราชการ/เอกชน
๔.จัดอบรมให้แก่ประชาชนและผู้สนใจทั่วไป
ข. ภูมิปัญญาของท่านสร้างคุณค่าให้แก่ชุมชนและท้องถิ่นอย่างไรบ้าง
- ให้ชุมชนได้ตระหนักถึงงานศิลปะแบบไทย ๆ ที่ใช้มือทั้งสองข้าง
- กระตุ้นให้ชุมชนรักในงานด้านศิลปะที่เราค้นคิดขึ้นมา
- นำคุณค่าที่มีอยู่ของชุมชน สร้างรายได้เพิ่มให้กับครอบครัว และชุมชนอีกอาชีพหนึ่ง
ค. แนวทางในการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
-ถ่ายทอดความรู้แบบไม่หยุดนิ่ง กับคนทุกกลุ่มทุกอาชีพที่ใฝ่หาความรู้ด้านศิลปะ
-ให้ความรู้ และ นำงานด้านศิลปะไปสร้างอาชีพ
-บูรณาการความรู้ที่มีอยู่กับแนวคิดใหม่ ๆ เพื่อให้ทันสมัยแต่ไม่ทิ้งเอกลักษณ์เดิมของเรา
-มีผู้สืบทอดงานศิลปะอย่างยั่งยืนตลอดไป
วันที่/เดือน/ปี เก็บข้อมูล.......๙ มิถุนายน ๒๕๕๗...
ภูมิปัญญา ดอกไม้จันทน์
นางปราณี แสงจันทร์
..............................
ชื่อ - สกุล ......นางปราณี แสงจันทร์ .อายุ..........๖๙............ปี
ที่อยู่ ..หมู่ ๑๔... ต.ศาลาแดง อ.บางน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา
ชีวประวัติ
นางปราณี แสงจันทร์ เกิดวันที่ ๑ มกราคม ๒๔๙๑ จังหวัด สิงห์บุรี มีพี่น้องร่วมกัน ๗ คน ปี พ.ศ.๒๕๑๖ ได้แต่งงานมีครอบครัว ณ ตำบลศาลาแดง อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา มีใจรักงานด้านศิลปะ เย็บปักถักร้อย จึงเข้ากลุ่มสตรีพัฒนาชุมชนอำเภอบางน้ำเปรี้ยว ได้เรียนทำดอกไม้จันทน์ขึ้น และมาดัดแปลงเป็นความคิดริเริ่มของตนเอง เป็นดอกไม้จันทน์ที่ไม่มีใครผลิตเช่นนี้มาก่อนเลย ด้วยการทำดอกไม้จันทน์ ซึ่งเดิมจะมีสีขาว เพื่อเป็นการแสดงความอาลัยกับผู้วายชน แต่นางปราณี แสงจันทน์ ได้ผลิตดอกไม้จันทน์ที่มีสีสันสวยงามแปลกตา สวยงามยิ่งนัก แต่ไม่น่าเกลียด ทำให้งานเศร้าสลดแต่กลับมีชีวิตชีวาจากดอกไม้จันทน์ การแวกแนวของความคิดของนางปราณี แสงจันทร์ ที่กล้าแสดงออกจนกลายเป็นดอกไม้จันทน์ที่สวยงาม จนมีชื่อเสียงไปทั่ว และเป็นที่สนใจของคน/และหน่วยงานทั่วไป จึงได้ตั้งเป็นกลุ่มอาชีพ ได้รับเชิญไปเป็นวิทยากรตามสถานที่ต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน นอกจากนั้นนางปราณี แสงจันทร์ ยังคิดริเริ่มทำดอกไม้หลากหลายประเภท ตามวาระการใช้งาน เช่น ในงานมงคลต่าง ๆ จนมีชื่อเสียงทั่วประเทศเป็นที่สนใจของกลุ่มอาชีพต่างๆ รวมทั้งกลุ่มอาชีพสตรีต่างจังหวัด ทั่วประเทศไทยได้สนใจมาศึกษาดูงาน ณ บ้านของนางปราณี แสงจันทร์ ผลิตภัณฑ์ของนางปราณี แสงจันทร์ ได้รับรางวัลต่าง ๆ มากมาย
การศึกษา
- จบการศึกษาชั้นประถมปีที่ ๔ โรงเรียนวัดกลางท่าข้าม ต.โพสังโฆ อ.ค่ายบางระจัน จ.สิงห์บุรี
ประสบการณ์ทำงาน
- เปิดธุรกิจตัดเย็บเสื้อผ้า
- ทำกลุ่มสตรีประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์
ผลงานดีเด่น
- เป็นผลิตภัณฑ์ดีเด่น
- สร้างกลุ่มอาชีพประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ให้กลุ่มสตรีที่ว่างงานให้มีรายได้
- เป็นวิทยากรมืออาชีพ
- เป็นครูศิลปะประดิษฐ์ดีเด่น
- ได้รับปริญญาภูมิปัญญาดีเด่น สาขากลุ่มอาชีพ จากราชภัฎราชนครินทร์ฉะเชิงเทรา
-๒-
รางวัลเกียรติคุณที่ได้รับ
- รางวัลเกียรติบัตร ผลิตภัณฑ์ระดับ ๕ ดาว จังหวัดฉะเชิงเทรา
- เป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ระดับ ๕ ดาว จังหวัดฉะเชิงเทรา
- รางวัลผู้ทำคุณประโยชน์งานด้านวัฒนธรรมในกลุ่มอาชีพ
การถ่ายทอดองค์ความรู้ของปราช์ญชาวบ้าน
ก. วิธีการถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างไร
๑.เป็นวิทยากรสถาบัน ,หน่วยงานต่าง ๆ
๒.จัดตั้งกลุ่มอาชีพเพื่อถ่ายทอด
๓.เป็นกรรมการพิเศษของหน่วยงานราชการ/เอกชน
๔.จัดอบรมให้แก่ประชาชนและผู้สนใจทั่วไป
ข. ภูมิปัญญาของท่านสร้างคุณค่าให้แก่ชุมชนและท้องถิ่นอย่างไรบ้าง
- ให้ชุมชนได้ตระหนักถึงงานศิลปะแบบไทย ๆ ที่ใช้มือทั้งสองข้าง
- กระตุ้นให้ชุมชนรักในงานด้านศิลปะที่เราค้นคิดขึ้นมา
- นำคุณค่าที่มีอยู่ของชุมชน สร้างรายได้เพิ่มให้กับครอบครัว และชุมชนอีกอาชีพหนึ่ง
ค. แนวทางในการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
-ถ่ายทอดความรู้แบบไม่หยุดนิ่ง กับคนทุกกลุ่มทุกอาชีพที่ใฝ่หาความรู้ด้านศิลปะ
-ให้ความรู้ และ นำงานด้านศิลปะไปสร้างอาชีพ
-บูรณาการความรู้ที่มีอยู่กับแนวคิดใหม่ ๆ เพื่อให้ทันสมัยแต่ไม่ทิ้งเอกลักษณ์เดิมของเรา
-มีผู้สืบทอดงานศิลปะอย่างยั่งยืนตลอดไป
2. แหล่งเรียนรู้ชุมชน "ไผ่กิมซุง" บ้านนายพร้อม วราสินธุ์ หมู่ที่ 15 ตำบลศาลาแดง
เข้าชม : 1099 |