BEST PRACTICE
ผู้สูงอายุเครือข่ายเสริมสร้างคุณภาพชีวิต
จัดทำโดย
นางสาวสมคิด วุฒิศาสตร์
กศน.ตำบลพนมสารคาม
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนมสารคาม
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดฉะเชิงเทรา
BEST PRACTICE
เรื่อง ผู้สูงอายุเครือข่ายเสริมสร้างคุณภาพชีวิต
ความเป็นมาของโครงการ
ปัจจุบันสังคมไทยกําลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากรครั้งสําคัญ คือ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยสัดส่วนจํานวนประชากรในวัยทํางานและวัยเด็กลดลง เนื่องจากอัตรา การเกิดและอัตราการตายของประชากรลดลงอย่างต่อเนื่อง ทําให้ประชากรไทยโดยเฉลี่ยมีอายุยืนยาวขึ้น ซึ่งสถานการณ์ของประเทศไทยก็ดําเนินไปเช่นเดียวกับนานาประเทศ กล่าวคือ การดําเนินนโยบาย ด้านประชากรและการวางแผนครอบครัวที่ประสบผลสําเร็จ ตลอดจนความก้าวหน้าในการพัฒนา ประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ส่งผลให้คนไทยมีสุขภาพดีมีอายุยืนยาวขึ้น และมีโอกาสได้รับ การศึกษาที่สูงขึ้น มีความรู้และทักษะในการป้องกันและดูแลสุขภาพ ตลอดจนการวางแผนครอบครัว ที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งผลสําเร็จดังกล่าวทําให้ภาวการณ์เจริญพันธุ์และอัตราการเกิดมีแนวโน้ม ที่ลดลง จนเกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้างของประชากร กล่าวคือ ประชากรที่อยู่ในวัยสูงอายุ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในขณะที่ประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานมีแนวโน้มที่ลดลง
วัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน
1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เหมาะสมกับวัยและตรงความต้องการ
2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ฝึกทักษะเสริมรายได้เสริมสร้างคุณภาพชีวิต
3. เพื่อให้ผู้สูงอายุนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
เป้าหมาย
เชิงปริมาณ
ผู้สูงอายุโรงเรียนบานไม่รู้โรย จำนวน 20 คน
เชิงคุณภาพ
ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุได้รับการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เหมาะสมกับวัยและตรงความต้องการ ได้ฝึกทักษะเสริมรายได้เสริมสร้างคุณภาพชีวิตและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
กระบวนการ / ขั้นตอนการดำเนินงาน
1. วางแผนงานและเตรียมการ
- ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ กำหนดปัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหา
- ขออนุมัติหลักสูตร
- กำหนดแผนการจัดโครงการ
- ประสานวิทยากร
- แต่งตั้งวิทยากร
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้
- ประเมินผล
วิธีดำเนินการ
กิจกรรมหลัก
|
วัตถุประสงค์
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
เป้าหมาย
|
พื้นที่ดำเนินการ
|
ระยะเวลา
|
งบประมาณ
|
1.ขั้นวางแผน (Plan)
1.1 วางแผนปฏิบัติงาน
1.2 แต่งตั้งคณะทำงาน
1.3 จัดทำโครงการและอนุมัติโครงการ
1.4 ประชาสัมพันธ์โครงการฯ
|
-เพื่อวางแผนการทำงานจัดกิจกรรมการเรียนรู้
|
-ผอ.กศน.อำเภอพนมสารคาม
-ครู กศน.ตำบล
|
2 คน
|
กศน.อำเภอพนมสารคาม
|
ก.ย.62
|
|
2.ขั้นดำเนินงาน (Do)
-ให้ความรู้
เรื่อง “รู้จักไวรัสโคโรน่า”
-วิธีป้องกันไวรัสโคโรน่า
-การทำเจลล้างมือ
- การทำหน้ากากอนามัย
-การทำพวงกุญแจจากหญ้าแฝก
-การทำภาชนะใส่แก้วเยติจากหญ้าแฝก
-การปักริบบิ้น
-การอ่านออนไลน์
|
1เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เหมาะสมกับวัยและตรงความต้องการ
2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ฝึกทักษะเสริมรายได้เสริมสร้างคุณภาพชีวิต
3.เพื่อให้ผู้สูงอายุนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
-ผู้สูงอายุตำบลพนมสารคาม
|
จำนวน 20คน
|
-โรงเรียนผู้สูงอายุบานไม่รู้โรย
|
ต.ค.62
-
มี.ค.63
|
-
|
3. ขั้นตรวจสอบ (Check)
3.1 การประเมินผลก่อนดำเนินโครงการ
3.2 การประเมินระหว่างดำเนินโครงการ
3.3 การประเมินเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
|
3.1 เพื่อประเมินความเป็นไปได้ของโครงการ
3.2เพื่อประเมินความก้าวหน้าของโครงการ
3.3เพื่อประเมินผลสำเร็จของโครงการ
|
- ผอ.กศน.อำเภอพนมสารคาม
- ครู กศน.ตำบล
-ผู้สูงอายุตำบลพนมสารคาม
|
จำนวน 1 คน
จำนวน 2 คน
จำนวน 20 คน
|
-โรงเรียนผู้สูงอายุบานไม่รู้โรย
|
ต.ค.62
-
มี.ค.63
|
|
4. ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action)
4.1 รวบรวมข้อมูล สรุปผลและจัดทำรายงานการประเมิน
4.2ประชุมคณะทำงานเพื่อนำข้อมูลจากงานการประเมินโครงการไปใช้ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการดำเนินโครงการ
|
- เพื่อปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการดำเนินโครงการ
|
- ผอ.กศน.อำเภอพนมสารคาม
- ครู กศน.ตำบล
|
1 เล่ม
|
กศน.อำเภอพนมสารคาม
|
31 มี.ค.63
|
|
ผลการดำเนินงาน / ประโยชน์ที่ได้รับ
ประโยชน์ต่อผู้สูงอายุ
1.ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาด้านจิตใจ สุขภาพ และสังคม
2.ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะในการฝึกทักษะเสริมรายได้เสริมสร้างคุณภาพชีวิต
3.ผู้สูงอายุสามารถอยู่ร่วมกันภายใต้สังคมระหว่างวัย
4.ผู้สูงอายได้แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน
ประโยชน์ต่อสถานศึกษา
1. สถานศึกษาได้รับการยอมรับและความร่วมมือจากชุมชนและภาคีเครือข่าย
2. เป็นการประชาสัมพันธ์งาน กศน.
ประโยชน์ต่อชุมชน
1.เป็นการจัดกิจกรรมเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชนในรูปแบบกลุ่มสนใจ
2.ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชนเชิงรุกที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน
ปัจจัยความสำเร็จ
1. การได้รับความร่วมมือจากทุกภาคีเครือข่ายเป็นอย่างดี
2. มีการประสานงานกับภาคีเครือข่าย
3. มีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับเครือข่ายและคนในชุมชน
4. มีการดำเนินงานตามแผน
การเผยแพร่
ได้เผยแพร่เอกสารทาง กศน.ตำบลพนมสารคาม http://ccs.nfe.go.th/panom/panomsarakam/
ข้อเสนอแนะ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เห็นความสำคัญในการพัฒนาส่งเสริมและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในทุกด้าน พร้อมทั้งสนับสนุนภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานอย่างมีส่วนร่วม บูรณาการอย่างเป็นระบบ
ภาคผนวก
ภาพกิจกรรม
ภาพกิจกรรม
ภาพกิจกรรม
การปักริบบิ้นกระเป๋าผ้าลดโลกร้อน
วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563 ณ กลุ่มอาชีพเทศบาล ม. 1 ต.พนมสารคาม
ภาพกิจกรรม
การปักริบบิ้นกระเป๋าผ้าลดโลกร้อน
วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2563 ณ กลุ่มอาชีพเทศบาล ม. 1 ต.พนมสารคาม
ภาพกิจกรรม
โครงการฝึกอาชีพระยะสั้น การทำภาชนะใส่แก้วเยติจากหญ้าแฝก
โรงเรียนผู้สูงอายุ ม.1 ต.พนมสารคาม
วันที่ 31 มกราคม 2563
ภาพกิจกรรม
การทำหน้ากากอนามัย
การทำเจลล้างมือ
การทำพวงกุญแจจากหญ้าแฝก
เข้าชม : 997 |