[x] ปิดหน้าต่างนี้
 
 
   กลับหน้าหลัก


ความรู้เกี่ยวกับ IT
Best Practiceกิจกรรมประกวดบทความบทความ : สืบสานงานประเพณีบุญข้าวจี่ หนึ่งเดียวในภาคตะวันออกตามโครงการฯ TKP

ศุกร์ ที่ 12 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2566

 แบบรายงาน Best Practice
1.ชื่อโครงการกิจกรรม กิจกรรมประกวดบทความบทความ : สืบสานงานประเพณีบุญข้าวจี่ หนึ่งเดียวในภาคตะวันออกตามโครงการฯ TKP
2. ความสอดคล้องกับนโยบาย ระบุนโยบายที่สอดคล้อง
การยกระดับคุณภาพการศึกษา ๒.๓ ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ์ความยึดมั่น ในสถาบันหลักของชาติ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของชาติและท้องถิ่น เสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง
และมีศีลธรรมที่เข้มแข็ง รวมถึงการมีจิตอาสา โดยผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นการเพิ่มทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต เช่น ทักษะความคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ การสื่อสารระหว่างบุคคล การเตรียมพร้อม รับความเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น
3.ความเป็นมาของโครงการ/กิจกรรม
          ตามที่สำนักงาน กศน.มีนโยบายดำเนินการประกวดครังความรู้ กศน.เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ปี พ.ศ.2565 โคยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาบุคลากร ของ กศน.ในการจัดทำขอมูลความรู้ชุมชน ผ่านเว็บไซต์ “ศูนย์ข้อมูลครังความรู้ประชาชน’ (Thailand Knowledge Portal : TKP)โดยมอบให้สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ดำเนินการจัดกิจกรรมประกวดบทความ ข้อมูลความรู้ประชาชน (Thailand Knowledge Portal : TKP) ประจำปีงบประมาณ 2565 เพื่อกระตุ้นและสร้างขวัญกำลังใจให้กับครู กศน.ที่ผ่านการอบรมตามโครงการสร้างและพัฒนาเว็บไซต์ที่มีคุณภาพ
4. ปัจจัยป้อน
ทรัพยากรทางการบริหารทุกๆ ด้านได้แก่ บุคลากร (Man) งบประมาณ (Money) วัสดุ อุปกรณ์ (Materials) การบริหารจัดการ (Management) และ แรงจูงใจ (Motivations) ที่เป็นส่วนร่วมเริ่มต้นและเป็นตัวสำคัญในการส่งเข้าประกวด
5.ขั้นตอนการดำเนินงาน
          1 วางแผนการจัดเก็บข้อมูล
          2  จัดเก็บข้อมูลจากภาพถ่าย การสัมภาษณ์ภูมิปัญญาในชุมชน
          3 ดำเนินการเขียนบทความ
             - ทบทนเนื้อหาจากผู้บริหาร ภูมิปัญญา ผู้นำชุมชน
           - ส่งบทความระดับจังหวัด
          4. เผยแพร่ผลงาน
 
6.ความสำเร็จที่เป็นจุดเด่นของโครงการ/หรือกิจกรรมนี้(output)
(ต้องเป็นที่ยอมรับของผู้บริหาร/ครู/ผู้ปกครอง/ ผู้รับบริการ/กรรมการสถานศึกษา/ชุมชน)
          เป็นการเผยแพร่ผลงานวัฒนธรรมที่สำคัญของชุมชนในตำบลคลองตะเกรา ให้เป็นที่ยอบรับตามความเป็นมาของการประกวด ประเพณีบุญข้าวจี่ เป็นประเพณีของชาวอีสานที่อพยพมาอาศัยอยู่ในตำบลคลองตะเกรา อำเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งย้ายถิ่นฐานมาจากหลากหลายจังหวัดทางภา ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เช่น จังหวัดกาฬสินธุ์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี นครราชสีมา เป็นต้น และได้นำศิลปวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างไปจากภาคอื่นๆ เข้ามาถือปฏิบัติ เช่น ศิลปะการรำเซิ้ง ประเพณีบุญบั้งไฟ และประเพณีบุญข้าวจี่ ซึ่งประเพณีบุญข้าวจี่ ประชาชนจะร่วมกันทำข้าวจี่ไปถวายพระสงฆ์ และนำไปบวงสรวงศาลเพียงตาประจำหมู่บ้านเป็นประจำทุกปี เพื่อสืบสานและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีบุญข้าวจี่ให้คงอยู่ในชุมชน เป็นประเพณีอันดีงามของชุมชนในอำเภอท่าตะเกียบ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างหมู่บ้าน วัด โรงเรียน ให้คนในชุมชนเกิดความรักใคร่สามัคคี
7. รางวัลแห่งความสำเร็จของโครงการ/กิจกรรม เช่นเกีตรติบัตร/การศึกษาดูงาน/การเผยแพร่
   
    การประกวดบทความระดับจังหวัดฉะเชิงเทรา และได้รับรางวัลประกวดบทความระดับภาคตะวันออก
8. ข้อคิดควนคำนึงในการไปขยายผลหรือนำโครงการนี้ไปทำ
     เพื่อให้การประกวดบทความเป็นไปตามวัตถุประสงค์ต้องมีการเผยเผยแพร่ผลงานในช่องทางต่างๆและพัฒนาการเขียนบทความในเรื่องอื่นๆที่เกิดขึ้นในชุมชน
9.ข้อมูลอ้างอิง
 
(ภาพกิจกรรมไม่เกิน6ภาพหรือ ลิงค์ คิวอาร์โค้ด ภาพเคลื่อนไหว)
 
แบบฟอร์มส่งผลงานบทความเข้าประกวด
(1) ชื่อบทความ : สืบสานงานประเพณีบุญข้าวจี่ หนึ่งเดียวในภาคตะวันออก
(2) กลุ่ม/ประเภทของบทความ : ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี
ประเภทวัฒนธรรมประเพณี วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ ประเพณี
(3) ผู้ส่งบทความ : นายสงวน มูลวงค์
          ตำแหน่ง : ครู กศน.ตำบลคลองตะเกรา
          กศน.อําเภอ : ท่าตะเกียบ
          สังกัดสำนักงาน กศน.จังหวัดฉะเชิงเทรา
(4) เข้าร่วมอบรมตามโครงการฯ TKP เมื่อวันที่ 18 - 21 เดือน สิงหาคม ปี พ.ศ. 2563
(5) ลิ้งก์อ้างอิงเพื่อตรวจสอบ จากหน้าเว็บข้อมูลความรู้ชุมชน (คัดลอกจากหน้าบทความที่ส่งบทความ
ที่ส่งบทความประกวด) โดยสามารถตัดลิ้งก์ให้สั้นได้
ชื่อลิงก์: https://shorturl.asia/lFR37
ขอรับรองว่าของมูลดังกล่าวเป็นจริงทุกประการ      
                                                         
 
                                                          (นายสงวน มูลวงค์)
                                                          วันที่ 25 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2565
อธิบายรายละเอียดตามฟอร์ม
(1) ชื่อบทความให้ตรงกับที่ปรากฏหรือแสดงผลในหน้าเว็บ
(2) กลุ่มหรือประเภท จะส่งได้เฉพาะ 5 หมวดหลักเท่านั้น อาชีพท้องถิ่น, ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ชาวบ้าน,
แหล่งท่องเที่ยว(ชุมชน), แหล่งเรียนรู้ และศิลปวัฒนธรรมประเพณี)
(3) รายละเอียดของผู้ส่ง รวมถึงหน่วยงานต้นสังกัดระดับอำเภอ และระดับจังหวัดที่เข้าร่วมโครงการเฉพาะปี 2561-2565
(4) วันเวลาที่เคยเข้ารับการอบรมตามโครงการศูนย์ข้อมูลความรู้ประชาชน หรือชื่ออื่นที่ขับเคลื่อนด้วย TKP
(5) ลิงก์เฉพาะหน้าข้อมูล(บทความ)ของผู้ส่งผลงานที่จะต้องปรากฏในเว็บข้อมูลความรู้ชุมชน
(6) ลงรายละเอียดข้อมูลของตนเองตามฟอร์มในหน้าถัดไป(เฉพาะส่วนของผู้ส่งบทความ)ด้วยลายมือบรรจงของ ท่าน
แบบฟอร์มตรวจผลงานบทความระดับจังหวัด สำนักงาน กศน.จังหวัดฉะเชิงเทรา
ส่วนของผู้ส่งบทความ (ต้องใส่รายละเอียดให้กรรมการด้วยลายมือบรรจง)
1. ชื่อบทความ สืบสารงานประเพณีบุญข้าวจี
2. ชื่อผู้ส่งผลงาน นายสงวน มูลวงค์
3. กศน.อำเภอท่าตะเกียบ
4. หมวดของบทความ แหล่งเรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรมประเพณี
 5. ลิงก์ บทความที่ส่งประกวด TKP (ตัดลิงก์ให้สั้นได้) ชื่อลิงก์: https://shorturl.asia/SYWfE
ส่วนของผู้ตรวนผลงาน (ประเมินขั้นต้น)
รายการ
ถูกต้อง
ไม่ถูกต้อง
1. บทความที่ส่งต้องปรากฏอยู่ในหน้าเว็บข้อมูลความรู้ชุมชน TKP
ü
 
2. ชื่อบทความและเนื้อหาตรงกับที่ปรากฏในหน้าเว็บข้อมูลความรู้ชุมชน TKP และเว็บปลายทาง
ü
 
3. บทความส่งตรงตามกลุ่มขอบทความที่กำหนดไว้ (5 กลุ่มบทความ)
ü
 
4. บทความมีส่วนต่าง ๆ ครบถ้วนตามเงื่อนไข (การจัดหน้า ฟอนต์ จำนวน 1 ตัวอักษรส่วนลงท้าย)
ü
 
5. บทความครบถ้วนของเงื่อนไขด้วยภาพประกอบ (ไม่น้อยกว่า 5 ภาพ)
ü
 
 
ส่วนของผู้ตรวจผลงาน (ประเมินคุณภาพของงาน)
รายการ
ค่าน้ำหนักคะแนน
หมายเหตุ
5
4
3
2
1
1. เนื้อหามีครบถ้วนตามโครงสร้างกลุ่มของบทความ
 
ü
 
 
 
 
2. การใช้ภาษาในการถ่ายทอดเรื่องราว (สำนวน สื่อความหมาย สะกดคำ)
 
ü
 
 
 
 
3. ความเหมาะสม และคุณค่าของภาพที่มีต่อบทความ
 
ü
 
 
 
 
4. การออกแบบการจัดวางองค์ประกอบของหน้าเอกสาร
 
ü
 
 
 
 
5. เนื้อหามีความเหมาะสมตรงตามชื่อเรื่องและกลุ่มของบทความ
ü
 
 
 
 
 
                     

....................................................

(นางสาวสาคร ค่ำกลาง)
ครู
รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ กศน.อำเภอท่าตะเกียบ
ผู้บริหารสถานศึกษา
....................................................
(นายสงวน มูลวงค์)
ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล
ผู้ส่งบทความ
 

 

 
 
 
 
 
 
 

 
  10. ผู้เขียน/บรรณาธิการกิจ
นางสาวสาคร ค่ำกลาง           ตำแหน่งครู รักษาการในตำแหน่ง
                                                 ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอท่าตะเกียบ
 
นายสงวน มูลวงค์                   ครู กศน.ตำบลคลองตะเกรา
 
 
 
 
 
 

เข้าชม : 149

ความรู้เกี่ยวกับ IT 5 อันดับล่าสุด

      Best Practiceกิจกรรมประกวดบทความบทความ : สืบสานงานประเพณีบุญข้าวจี่ หนึ่งเดียวในภาคตะวันออกตามโครงการฯ TKP 12 / พ.ค. / 2566
      การใช้งาน F1 - F12 30 / ม.ค. / 2558




ชื่อ/Email :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ไอคอน : ย่อหน้า จัดซ้าย จัดกลาง จัดขวา ตัวหนา ตัวเอียง เส้นใต้ ตัวยก ตัวห้อย ตัวหนังสือเรืองแสง ตัวหนังสือมีเงา สีแดง สีเขียว สีน้ำเงิน สีส้ม สีชมพู สีเทา
อ้างอิงคำพูด เพิ่มเพลง เพิ่มวีดีโอคลิป เพิ่มรูปภาพ เพิ่มไฟล์ Flash เพิ่มลิงก์ เพิ่มอีเมล์
ความคิดเห็น :


กรุณาใช้คำพูดที่สุภาพ และอย่าใช้คำพูดที่พาดพิงถึงบุคคลอื่นให้เสียหาย ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ


ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของระบบไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม กรุณาแจ้ง ที่นี่ เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

กศน.ตำบลคลองตะเกรา  อำเภอท่าตะเกียบ  จังหวัดฉะเชิงเทรา 24160 
โทรศัพท์ 089-0191274 E-mail : nw004064@hotmail.co.t
h    
 กศน.ตำบลคลองตะเกราอำเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉเชิงเทรา 24160
โทรศัพห์ 038-508121

Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.04tb    Admin